วิวัฒนาการของดนตรีไทย
นักประวัติศาสตร์หลายท่านเชื่อว่ามนุษย์อยู่อาศัยในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน
มาแล้วประมาณ ๔๐,๐๐๐ ปี ซึ่งแต่เดิมเป็นชาวมอญ เขมรและมลายูปกครองพื้นที่ดังกล่าวโดยมีอาณาจักรใหญ่ เช่น ฟูนาน ทวารวดี หริภุญชัย
จักวรรดิเขมรและตามพรลิงค์
โดยหลักฐานชิ้นสำคัญที่แสดดงให้เห็นว่ากลุ่มชนที่อาศัยในแถบนี้มีวัฒนธรรมดนตรีเป็นของตนเอง
ได้แก่ ปูนปั้น "ปัญนดุริยสตรี" ที่พบ ณ เมืองโบราณคูบัว จังหวัดราชบุรี
ซึ่งจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร กรุงเทพมหานครใหญ่ มีอายุตรงกับยุคของอาณาจักรทวารวดี
นั่งพับเพียบ คนแรกจากมีลักษณะคือ ทุกนางเกล้ามอยผมสูง สวมตุ้มหูทรงกลมขนาดใหญ่ ตุ้มหูห้อยต่ำลงมา
ถึงบ่าห่มสไบเฉียงซ้ายไปขวาตีกรับ คนสองร้อยนำ คนกลางดีดพิณ คนที่สี่ตีฉิ่ง คนที่ห้าเล่นเครื่องดนตรี
คล้ายกับพิณน้ำเต้าศิลปินผู้ปั้นแสดงบรรยากาศของการบรรเลงดนตรีได้อบ่างลึกซึ้ง ถือเป็นโบราณวัตถุชิ้นเอก
ของพืพิธภัณฑ์หลังจากนั้น ประมาณ ค.ศ.๑๗๘๐ บรรพบุรุษของชาวไทยสยามจึงได้เริ่มเข้ามาอยู่อาศัยใน
อาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน โดยเริ่มจากการที่พ่อบางกลางหาวได้รวบรวมกำลังกบฎต่อเขมร และตั้ง
อาณาจักรสุโขทัยขึ้น ซึ่งนักประวัติศาสตร์ส่วนมากมักเลือกนับสุโขทัยเป็นราชธานีแห่งแรกของชนชาติไทย
ดังนั้นดนตรีไทย จึงได้เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่ถือเป็นมรดกโลกอันล้ำค่าของไทย
มีต้นกำเนิดมายาวนานผ่านการแลกเปลี่ยนและรับอัทธืพลมาจากอารยธรรมต่างๆ เช่น อารยธรรมดินเดีย
อารยธรรมจีน อารยธรรมขอมโบราณอารยธรรมชวาและมลายู เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งยุดของดนตรีไทย
เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาเป็นยุคสมัยต่างๆ คือ สมัยกรุงสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์