สมัยกรุงศรีอยุธยา
เป็นยุคที่ชนชาติไทยมีความสนใจในติดปะการดนตรีเป็นอย่างมาก และนิยมแพร่หลายจนการดนตรี เจริญล้ำหน้าขึ้นไปมากจากยุคกรุงสุโขทัย ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทย ตั้งแต่ช่วง พ.ศ.๑๘๙๐ ถึง พ.ศ.๒๓๑๐ (ค.ศ.๑๐๕๑ จนถึง ค.ศ.๑๗๖๗) มีระยะเวลายาวนานถึง๔๑๗ ปี โดยยุคกรุงศรีอยุธยาอยู่ตรงกับอารยธรรมตะวันตกทั้งหมด ๓ ยุคด้วยกัน คือ ยุคกลาง (ช่วงปลาย) ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ยุคบาโรก และยุคคลาสสิก (ช่วงต้น) โดยเครื่องดนตรีในยุคนี้ ก็คือเครื่องดนตรีที่นิยมกัน มาตั้งแต่ครั้งยุคกรุงสุโขทัย แต่ให้มีวิวัฒนาการจนดีขึ้นทั้งในด้านรูปทรง วัสดุ เทคนิคการบรรเลง และการประสมวง นอกจากนี้ยังใช้ถือกำเนิดเครื่องดนตรีอีกหลายชนิด ได้แก่ จะเข้ ขอสู้ ซอด้วง กรับเสภา ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ โทน รำมะนา ปี่ใน ปีกลาง เป็นต้น ความรุ่งเรื่องในการสร้างเครื่องดนตรีในยุคนี้พบเห็นได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตัวอย่างเช่น กฎมณเฑียรบาล ที่ตอนหนึ่งมีบันทึกไว้ดังนี้
“อนึ่งในท่อน้า ในสระแก้ว ผู้ใดที่เรือคฤ เรือปทุน เรือกูน และเรียสาตราวุธ และใส่ หมวกคลุมหัวนอนมา ชามหญิงนั่งมาด้วยกัน อนึ่งชเลาะ ตีค่ากัน ร้องเพลงเรือ เป่าปี เป่าขลุ่ย สีซอ คิดจะเข้ กระจับปี ตีโทนกับ โห่ร้องนี่นั้น อนึ่งพิริยะหมู่แขก ขอม ลาว พม่า ม้ง มอญ แสง จีน จาม ชวา นานาประเทศทั้งปวงและเข้ามาเดินท้ายสนม ก็ดี ทั้งนี้อัยการขุนสนมห้าม ถ้ามิได้ห้ามปรามเกาะกุมเอามาถึงสาตาให้แก่เจ้าน้ำเจ้า ท่าแลให้นานา ประเทศไปมาในท้ายสนมได้ โทษเจ้าพนักงานถึงตาย”
เครื่องตนตรีต่าง ๆ ที่ได้ระบุมาในกฎมณเฑียรบาลนี้ นอกจากปีซึ่งอยู่ในวงปี่พาทย์ และ กระจับปี อยู่ในวงมโหรือตัว ก็ล้วนแต่เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายทั้งสิ้น โดยนัก ประวัติศาสตร์ได้วิเคราะห์ว่า ซอที่ระบุในกฎมณเฑียรบาลนี้ คาดว่าเป็นซอยู่ ซอด้วง เพราะ หาเล่นและทำขึ้นเองได้ง่ายกว่าซอสามสาย ดังนี้ย่อมแสดงให้เห็นว่า การประสมวงดนตรีใน ยุคกรุงศรีอยุธยา ก็ได้มีการประสมวงดนตรีแบบใหม่ขึ้น คือ วงเครื่องสายไทย ที่ได้พัฒนาจน มีครบวงอยู่พร้อมแล้ว คือ ขอด้วง ซออู้ จะเข้ ขลุ่ย เป็นเครื่องบรรเลง โทนหรือทับ และนิ่ง เป็นเครื่องกำกับจังหวะ และวงมโหรี ที่วิวัฒนาการมาจากการบรรเลงพิณ และวงขับไม้รวมเข้า ด้วยกัน ประกอบด้วย ซอสามสาย กระจับปี คนขับลำนำที่ขับไปพร้อมกับตึกกับพวง และบัณเฑาะว์ ต่อมาได้ปรับจากการไกวบัณเฑาะว์เป็นโทน และการขับลำนำก็เปลี่ยนเป็นการขับร้องแทน ซึ่งเรียก วงชนิดนี้ว่า มโหรีเครื่องสี่ ต่อมาได้เพิ่มรำมะนา และขลุ่ย ภายหลังผู้ขับร้องได้เปลี่ยนจากรับพวงเป็นถึงแกลงในกามชนิดนี้ว่างมโหรีเครื่องตกไปภายหลังได้มี การเอาจะเข้ ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมขอญเข้ามาประสมแทนกระจับสวนมายากทางปี่พาทย์ ในยุคกรุงศรีอยุธยาตอนปลายได้มีการเพิ่มระนาดเอก เข้าในวงปี่พาทย์ เครื่องฟ้า ตัวนี้การเพิ่มระนาด เป็นข้าไปในวงแต่นับเป็นเครื่องหัวเท่าเดิมนั้น เนื่องจากยกเล็กการนัมจึง ที่เป็นเครื่องยนตร์ชั่นลัก ซึ่ง ระนาดเอกนี้ จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์คาดว่ามีต้นแบบเครื่องคนส ที่คล้ายกันนี้มาตั้งแต่ยุคก่อน กรุงสุโขทัย เพราะมีการขุดค้นพบแผ่นหินเรียงกันเป็นเหมือนลูกระนาด จึงเกิดมีแนวคิดน่ากรับมาเรียงต่อกัน เหมือนในยุคก่อนหน้า และปรับแต่งจนกลายเป็นระนาดเอกในยุคสมัย อยุธยา นอกจากนี้ยังมีวงปี่กลอง ที่ นิยมใช้ในงานอวมงคล เช่น แห่พระบรมศพเจ้านาย ซึ่งเครื่องดนตรี ประกอบด้วย ปีขวา กลองมลายู และน้องเหม่ง
วิวัฒนาการทางด้านบทเพลงในยุคกรุงศรีอยุธยา เริ่มมีการประพันธ์ที่หลากหลายมางขึ้น จนสามารถจำแนกเป็นประเภทต่างๆ เช่น เพลงร้องมโหรี ที่บรรเลงด้วยวงมโหรี ใช้สำหรับขับกล่อม นียมบรรเลงเพลงข้าพวกเพลงทับและเพลงเกร์ท เพลงปี่พาทย์ ใช้สำหรับประกอบการแสดงโขน ละคร ตลอดจนพิธีการต่าง ๆ นิยมบรรเลงเพลงจำพวกเพลงหน้าพาทย์และเพลงเรื่อง รวมไปถึง บทเพลง ประเภทเพลงภาษา ในยุคนี้มีการแลกเปลี่ยนคิยปวัฒนธรรมกับต่างประเทศ จนเกือบทเพลงที่มีการเลี่ยนสำเมือง ชนชาติต่างๆ