กำเนิดระบบสุริยะเป็นสมาชิกในกาแล็กซีทางช้างเผือกโดย มีดวงอาทิตย์วึ่งเป็นดาวกฤษ์ ดวงหนึ่งในจำดาวฤกษ์กว่าแสนล้านดวงเป็นศูนย์กลางของระบบ มีโลกและบริวารอื่นๆ โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดังนั้นปรากฤการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์จึงส๋งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมบนโลก |
|
1) โครงสร้างภายในดวงอาทิตย์ซึ่งมี 3 ส่วน1.1 แก่น (core) เป็นชั้นในสุดของดวงอาทิตย์ อุณหภูมิประมาณ 15 ล้านเคลวิน มีความหนาแน่นสูงและมีอุณหภูมิสูงมากพอที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ ซึ่งพลังงานที่ได้จาก ปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้เป็นแหล่งพลังงานของดวงอาทิตย์ 1.2 เขตการแผ่รังสี (radiation zone) เป็นชั้นที่ถัดจากแก่นออกมา มีความหนากว่าชั้นอื่น มีอุณหภูมิประมาณ 2.5 ล้านเคลวิน การถ่ายโอนพลังงานระหว่างแก่นและเขตการแผ่รังสีนี้ใช้ เวลานานนับแสนปี 1.3 เขตการพาความร้อน (convection zone) เป็นชั้นนอกสุดของดวงอาทิตย์ เกิด การพาพลังงานจากเขตการแผ่รังสีออกสู่ผิวของดวงอาทิตย์ โดยมีการหมุนเวียนของพลาสมาเป็นวงจร การพาความร้อน |
2) ชั้นบรรเทาภาคของดวงอาทิตย์ แบ่งเป็น 3 ชั้น คือ2.1 ชั้นไพ่นสเสีทร์ (กะctosphere) หรือ ทรงกลมแสง เป็นบรรยากาศชั้นในสุดของดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิประมาณว่า เคลวิน หนาประมาณ 400 กิโลเมตร ประกอบด้วยแก๊สร้อนซึ่งเคลื่อนที่ อยู่ตลอดเวลาจิเวณที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งการสังเกตดวงอาทิตย์โดยตรงต้องสังเกต โดยใช้แผ่นกรองแสงสุริยะทุกครั้ง 2.2 ในโครโมสเฟียร์ (chromosphere) หรือ ทรงกลมลี เป็นชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้ม โฟโตสเฟียร์ไว้ หนาประมาณ 1,700 กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 10,000 - 100,000 เคลวิน และมีความหนาแน่นน้อยกว่าโฟโตสเฟียร์ 2.3 คอโรนา (corona) เป็นบรรยากาศ ชั้นนอกสุดซึ่งมีความหนาแน่นน้อยกว่าชั้น โครโมสเฟียร์ สามารถแผ่กระจายออกไปไกลมาก มีอุณหภูมิสูงมากประมาณ 1 - 2 ล้านเคลวิน คนบนโลกจะเห็นบางส่วนของบรรยากาศชั้นนี้ ได้เฉพาะขณะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง |